วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558

อัพเดท เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ 30/04/2558

เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรสสั้น
  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรสสั้น

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรสสั้น

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรสสั้น

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่น มาใหม่ๆ แนว ชุดเดรสสั้น

วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2558

อัพเดท เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ 29/04/2558

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรส

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรส

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรส

  
เสื้อผ้าแฟชั่น เสื้อผ้าแฟชั่นราคาถูก เสื้อผ้าแฟชั่นเกาหลี เสื้อผ้าแฟชั่นมาใหม่ๆ แนว ชุดเดรส

กรีนพีซ พบสารก่อมะเร็ง ในเสื้อผ้าแฟชั่นแบรนด์ระดับโลก

         กรีนพีซ สากลเปิดเผยรายงานล่าสุด  พบสารเคมีอันตรายรบกวนฮอร์โมนและสารก่อมะเร็งในผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นแบรนด์ระดับโลก ซึ่งจะก่อผลกระทบเมื่อปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาของ กรีนพีซ ได้ตรวจพบสารเคมีอันตรายในเสื้อผ้าจาก 20 แบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นชั้นนำ1 โดยซาร่า(Zara) เป็นแบรนด์เสื้อผ้าที่พบสารเคมีอันตรายทั้งชนิดรบกวนฮอร์โมนและสารก่อมะเร็ง2

         รายงานกรีนพีซสากล “สารพิษในเส้นใย:แฟชั่นระดับโลกและการผลิต” ได้เปิดเผยผลวิเคราะห์ตัวอย่างเสื้อผ้าจำนวน 141 ชิ้นที่วางจำหน่ายใน 29 ประเทศ และซึ่งผลิตจากโรงงานจากไม่น้อยกว่า 18 ประเทศ รวมถึงประเทศไทย เพื่อแสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมฟอกย้อมและสิ่งทอที่มีการใช้สารเคมีอันตรายในกระบวนการผลิตและซึ่งตกค้างในผลิตภัณฑ์

         “ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแบรนด์ต่างๆ ได้ทำให้ผู้บริโภคกลายเป็นเหยื่อมลพิษจากการจำหน่ายเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนสารเคมีอันตราย  การปล่อยน้ำเสียจากโรงงานฟอกย้อมที่มีอยู่ทั่วโลกจากการผลิต และผู้บริโภคต้องกลายเป็นผู้ก่อมลพิษโดยไม่รู้ตัวจากการซักล้างเสื้อที่มีสารเคมีอันตราย” ยี ฟาง ลี่  ผู้ประสานงานด้านสารพิษ กรีนพีซ เอเชียตะวันออก กล่าว จากการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า พบสารกลุ่มโนนิลฟีนอลอีทอกซิเลท (NFEs) ในปริมาณสูงกว่า 1,000 ppm  ซึ่งจะแตกตัวเป็นสารรบกวนฮอร์โมน ในผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า

 ซาร่า(Zara)

 มีเทอร์สบอนเว (Metersbonwe)

 ลีวายส์ (Levi’s)

 ซีแอนด์เอ (C&A)

 แมงโก้ (Mango)

 เคลวิน ไคลน์ (Calvin Klein)

 แจ็ค แอนด์ โจนส์ (Jack & Jones)

 มาร์ค แอนด์ สเปนเซอร์ (Marks & Spencer)

         นอกจากนี้ยังมีการพบสารกลุ่มกลุ่มพทาเลท (phthalates) ในปริมาณเข้มข้นสูงจาก 4 ผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง และยังตรวจพบสารเอมีน (amines) ซึ่งมาจากการใช้สีฟอกย้อมเอโซ (azo dyes)3 จาก 2 ตัวอย่างจากผลิตภัณฑ์ ซาร่า อีกด้วย  นอกจากนี้ยังพบสารเคมีอันตรายอื่นๆ ในอีกหลายตัวอย่าง

        สารพิษ ที่พบจากตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากซาร่านั้น เป็นสารที่จะแตกตัวกลายเป็นสารรบกวนฮอร์โมนและสารก่อมะเร็ง  ซึ่งเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้สำหรับผู้บริโภคและประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณ ใกล้โรงงานที่ผลิตเสื้อผ้า ซาร่าจะทำให้มั่นใจได้อย่างไรว่าจะไม่มีการปนเปื้อนสารพิษในผลิตภัณฑ์ที่ ถูกวางจำหน่าย  ดังนั้นในฐานะที่ซาร่าเป็นผู้ค้าปลีกเสื้อผ้ารายใหญ่ที่สุดในโลก ซาร่าจะต้องเป็นผู้นำที่มีความมุ่งมั่นและโปร่งใสในการขจัดสารพิษออกจาก เสื้อผ้าและออกจากห่วงโซ่การผลิตทั้งหมดอย่างเร่งด่วน” มาร์ติน ฮอส์ซิก ผู้ประสานงานด้านสารพิษ กรีนพีชสากล กล่าว

      ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าที่ถูกทดสอบนั้นส่วนใหญ่มีการผลิตจากโรงงานในซีกโลกใต้ รวมถึงกางเกงยีนส์ กางเกงขาสั้น เสื้อเชิ๊ต กระโปรง ชุดชั้นในสำหรับผู้ชาย ผู้หญิงและเด็ก ทั้งที่ผลิตจากเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์  ซึ่งพบสารเคมีอันตรายตกค้างจากกระบวนการผลิตอยู่ในผลิตภัณฑ์

      “ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในแหล่งผลิตเสื้อผ้าแบรนด์ชั้นนำของโลกและเป็นตลาดเสื้อผ้าแบรนด์แฟชั่นที่มีการเติบโตสูง  ปัจจุบันมีการผลิตเสื้อผ้ากว่า 80,000 ล้านชิ้นทั่วโลกต่อปี หรือเท่ากับเสื้อผ้า11ชิ้นต่อประชากร1คน4 ซึ่งหมายถึงสารเคมีอันตรายปริมาณมหาศาลถูกใช้และปลดปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม โดยที่อุตสาหกรรมฟอกย้อมและสิ่งทอยังคงใช้แหล่งน้ำสาธารณะของพวกเราเป็นท่อระบายน้ำส่วนบุคคล  ซึ่งแฟชั่นนั้นไม่ควรที่จะต้องก่อมลพิษให้แก่โลก เสื้อผ้าของเราไม่ควรจะต้องผลิตจากสารเคมีอันตราย”พลาย ภิรมย์  ผู้จัดการฝ่ายรณรงค์ประจำประเทศไทย กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าว

          กรีนพีช เรียกร้องให้ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแบรนด์อื่นๆเข้าร่วมโครงการ “ล้างสารพิษ (Detox)” โดยจะต้องแสดงเจตจำนงค์อย่างน่าเชื่อถือในการบรรลุเป้าหมาย “การปล่อยมลพิษเป็นศูนย์” ให้ได้ภายในปีพ.ศ. 2563  เช่นเดียวกับที่ เฮชแอนด์เอ็ม (H&M) และ มาร์ค แอนด์ สเปนเซอร์ (M&S) ได้ให้คำมั่นที่จะทำแล้ว นอกจากนี้บริษัทจะต้องกำหนดให้โรงงานผลิตมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับชนิด และปริมาณการปลดปล่อยสารเคมีอันตรายจากโรงงานสู่ชุมชนและแหล่งน้ำ